วันเสาร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
การให้เหตุผลแบบอุปนัย
การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning) เกิดจากการที่มีสมมติฐานกรณีเฉพาะ หรือเหตุย่อยหลายๆ เหตุ เหตุย่อยแต่ละเหตุเป็นอิสระจากกัน มีความสำคัญเท่าๆ กัน และเหตุทั้งหลายเหล่านี้ไม่มีเหตุใดเหตุหนึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นสมมติฐานกรณีทั่วไป หรือกล่าวได้ว่า การให้เหตุผลแบบอุปนัยคือการนำเหตุย่อยๆ แต่ละเหตุมารวมกัน เพื่อนำไปสู่ผลสรุปเป็นกรณีทั่วไป เช่นตัวอย่างการให้เหตุผลแบบอุปนัย อ่านต่อ
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
การไม่เท่ากัน
การเท่ากันของจำนวนจริง การเท่ากันของจำนวน เราใช้ “ = ” แทนการเท่ากัน เช่น 1 + 2 = 3 ; 6 x 2 = 12 5 – 3 = 2 ; 24 ÷ 3 = 8 การเท่ากั...
-
สมบัติของจำนวนตรรกยะ จำนวนตรรกยะ คือ จำนวนที่สามารถเขียนในรูปเศษส่วน a/b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนเต็มโดยที่ b ไม่เท่ากับ 0 จำ...
-
การให้เหตุผลแบบอุปนัย ( Inductive Reasoning) เกิดจากการที่มีสมมติฐานกรณีเฉพาะ หรือเหตุย่อยหลายๆ เหตุ เหตุย่อยแต่ละเหตุเป็นอิสระจากกัน มีคว...
-
การให้เหตุผลแบบนิรนัย การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นวิธีการให้เหตุผลโดยสรุปผลจากข้อความซึ่งเป็นความจริงทั่วไปมาเป็นข้ออ้างเพื...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น