วันเสาร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

การไม่เท่ากัน

การเท่ากันของจำนวนจริง
การเท่ากันของจำนวน เราใช้ “ = ” แทนการเท่ากัน เช่น
1 + 2 = 3 ; 6 x 2 = 12
5 – 3 = 2 ; 24 ÷ 3 = 8

การเท่ากันในระบบจำนวนจริงมีสมบัติพื้นฐาน ดังนี้
1. สมบัติการสะท้อน
ถ้า a เป็นจำนวนจริงใด ๆ แล้ว a = a
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การไม่เท่ากันเช่น 3 = 3 อ่านต่อ

สมบัติ ของจำนวนจริง

สมบัติการเท่ากันของจำนวนจริง
1. สมบัติการสะท้อน a = a
2. สมบัติการสมมาตร ถ้า a = b แล้ว b = a
3. สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ สมบัติของจำนวนจริง4. สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a = b แล้ว a + c = b อ่านต่อ

จำนวนตรรกยะ

 สมบัติของจำนวนตรรกยะ



จำนวนตรรกยะ คือ จำนวนที่สามารถเขียนในรูปเศษส่วน a/b เมื่อ และ เป็นจำนวนเต็มโดยที่ ไม่เท่ากับ 0 จำนวนตรรกยะ จำแนกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆอ่านต่อ


 ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ จํานวนตรรกยะ

จำนวนจริง

เซตของจำนวนจริงประกอบด้วยสับเซตที่สำคัญ  ได้แก่
- เซตของจำนวนนับ/ เซตของจำนวนเต็มบวก เขียนแทนด้วย  I
                   I = {1,2,3…}
เซตของจำนวนเต็มลบ  เขียนแทนด้วย  I
เซตของจำนวนเต็ม เขียนแทนด้วย I
                   I = { …,-3,-2,-1,0,1,2,3…}
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ จํานวนจริงเซตของจำนวนตรรกยะ เซตของจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วน      โดยที่ a,เป็นจำนวนเต็ม  และ b = 0 อ่านต่อ

การให้เหตุผลแบบนิรนัย

การให้เหตุผลแบบนิรนัย
                การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นวิธีการให้เหตุผลโดยสรุปผลจากข้อความซึ่งเป็นความจริงทั่วไปมาเป็นข้ออ้างเพื่อสนับสนุนให้เกิดข้อสรุปที่เป็นความรู้ใหม่ที่เป็นข้อสรุปส่วนย่อยข้อสรุปที่ได้จากการให้เหตุผล
แบบนิรนัยนั้นจะเป็นข้อสรุปที่อยู่ในขอบเขตของเหตุเท่านั้นจะเป็นข้อสรุปที่กว้างหรือเกินกว่าเหตุไม่ได้การให้เหตุผลแบบนิรนัยประกอบด้วยข้อความ2กลุ่มโดยข้อความกลุ่มแรกเป็นข้อความที่เป็นเหตุ เหตุอาจมี
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การให้เหตุผลแบบนิรนัยหลาย ๆเหตุ หลาย ๆข้อความ และข้อความกลุ่มที่สองจะเป็นข้อสรุป ข้อความในกลุ่มแรกและกลุ่มที่สองจะต้องมีความสัมพันธ์กัน อ่านต่อ

การให้เหตุผลแบบอุปนัย

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การให้เหตุผลแบบอุปนัยการให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning) เกิดจากการที่มีสมมติฐานกรณีเฉพาะ หรือเหตุย่อยหลายๆ เหตุ เหตุย่อยแต่ละเหตุเป็นอิสระจากกัน มีความสำคัญเท่าๆ กัน และเหตุทั้งหลายเหล่านี้ไม่มีเหตุใดเหตุหนึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นสมมติฐานกรณีทั่วไป หรือกล่าวได้ว่า การให้เหตุผลแบบอุปนัยคือการนำเหตุย่อยๆ แต่ละเหตุมารวมกัน เพื่อนำไปสู่ผลสรุปเป็นกรณีทั่วไป เช่นตัวอย่างการให้เหตุผลแบบอุปนัย อ่านต่อ

ยูเนียน

ยูเนียน (Union)

ยูเนียน (Union) มีนิยามว่า เซต A ยูเนียนกับเซต B คือเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A หรือ เซต B หรือทั้ง A และ B สามารถเขียนแทนได้ด้วย สัญลักษณ์ A ∪ B
ตัวอย่างเช่น
A ={1,2,3}
B= {3,4,5}
∴ A ∪ B = {1,2,3,4,5}
เราสามารถเขียนการยูเนี่ยนลงในแผนภาพได้     อ่านต่อ
union

สับเซต

.สับเซต (subset) หรือ “เซตย่อย”  คือ เซตที่เล็กกว่าหรือเท่ากันกับเซตที่กำหนด โดยต้องใช้สมาชิกร่วมกับเซตที่กำหนดเท่านั้น
…….สัญลักษณ์ที่ใช้แทนประโยค ” A เป็นสับเซตของ B” คือ A\subset B และจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A นั้นเป็นสมาชิกของเซต B ด้วย หรือเมื่อ A เป็นเซตว่างก็ได้ อ่านต่อ
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ สับเซต

เซต


ซต  เป็นคำที่ใช้บ่งบอกถึงกลุ่มของสิ่งต่างๆ และเมื่อกล่าวถึงกลุ่มใดแน่นอนว่าสิ่งใดอยู่ในกลุ่ม สิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม เช่น
       เซตสระในภาษาอังกฤษ  หมายถึง  กลุ่มของอังกฤษ  a, e, i, o และ u
       เซตของจำนวนนับที่น้อยกว่า 10 หมายถึง  กลุ่มตัวเลข 1,2,3,4,5,6,7,8,และ9
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เซต        สิ่งที่ในเชตเรียกว่า  สมาชิก  ( element หรือ members ) อ่านต่อ

วันพฤหัสบดีที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

เอกภพสัมพัทธ์


  เอกภพสัมพัทธ์  คือ  เซตที่กำหนดขอบเขตของสิ่งที่ต้องการศึกษา  ซึ่งถือว่าเป็นเซตที่ใหญ่ที่สุด  โดยมีข้อตกลงว่า  ต่อไปจะกล่าวถึงสมาชิกของเซตนี้เท่านั้น จะไม่มีการกล่าวถึงสิ่งใดที่นอกเหนือไปจากสมาชิกของเซตที่กำหนดขึ้นนี้ โดยทั่วไปนิยมใช้สัญลักษณ์   แทนเอกภพสัมพัทธ์อ่านเพิ่มเติมhttps://sites.google.com/site/jutatipsilangam/set-set/xekphph-samphathth-relative-universe


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เอกภพสัมพัทธ์

การไม่เท่ากัน

การเท่ากันของจำนวนจริง การเท่ากันของจำนวน เราใช้ “ = ” แทนการเท่ากัน เช่น 1 + 2 = 3 ; 6 x 2 = 12 5 – 3 = 2 ; 24 ÷ 3 = 8 การเท่ากั...